Germany-Thailand Bioeconomy Call Announcement 2025
Funding Organization: Program Management Unit for Human Resources & Institutional Development, Research and Innovation (PMU-B) as a co-funder for Thailand.
Priority Areas:
- Synthetic biology for the design and construction of new biological parts, devices, and systems, or re-design of existing, natural biological systems for useful purposes (e.g., orthogonal bio-systems, regulatory circuits, minimal genome approaches, and protocells).
- Systems biology to expand the knowledge of biological processes and regulatory mechanisms in intra- and intercellular processes. This includes the use of bioinformatics tools (e.g., data standardization, modeling, open repositories) and the development of new computational methods.
- Metabolic engineering for targeted optimization of microbial production strains and biological processes, including the optimization of metabolic pathways and their regulation.
- Development or advancement of technologies for production of value-added products from sustainably sourced biomass.
- Biotechnological approaches (possibly in combination with chemical ones) to transform bio-based building blocks into high-value products in a sustainable way.
- Innovations to support sustainable and resilient food systems focused on reducing or reusing wastes, enhancing efficiency, and improving circularity.
- Use of bioinformatics tools (e.g., data standardization, modeling, open repositories) for the identification and utilization of metabolic pathways, such as those useful for bio-production and strain/variety improvement.
Eligibility: Proposals must fulfil the following criteria to be eligible for funding under this Programme:
- The proposal must have the researchers from Thailand at least 2 institutes/universities to cooperate with.
- Lead applicants in Thailand must be;
- Researchers and/or university professors/instructors who work in public/non-profit organization research institute or university in Thailand and are competent in conducting research with international partners.
- The project leader must hold a doctoral degree or equivalent, possess a record of high-quality research, and be employed at a higher education institution or government agency in Thailand. Additionally, neither the project leader nor any of the research team members may have been involved in any violation of research ethics.
- A project leader is an individual with expertise who is affiliated with a government research unit or a higher education institution nationwide and has a research track record that demonstrates their practical knowledge and abilities.
- The project leader should have publications in international academic journals as a Corresponding or First Author, with at least 5 publications in the past 5 years or as specified by PMU-B.
- If the project leader is a researcher in science and technology, their publications must be in journals indexed in Scopus or ISI and have an Impact Factor.
- The proposal topic must directly address the topic outlined in the call for proposals (PMU-B).
Maximum Award: The total budget for a Thai researcher’s project can be up 5,000,000 Thai Baht over three years.
Application Process:
- The applications must be submitted to the Bioeconomy International Submission Platform: https://www.bioeconomy-international.de/bi2025/registration
- Thai project leader must also submit the full proposal to PMU-B through NRIIS: https://nriis.go.th
Application Deadline: 25 November 2025.
Further information: https://www.pmu-hr.or.th/portfolio/germany-thailand-bioeconomy-2569/ and https://www.bioeconomy-international.de/bi2025
หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) ประกาศเปิดรับข้อเสนอโครงการวิจัย (Full Proposals) Germany – Thailand ในประเด็น Bioeconomy ประจำปีงบประมาณ 2569 โดยมีลำดับความสำคัญของหัวข้อโครงการวิจัย ดังนี้
- ชีววิทยาสังเคราะห์สำหรับการออกแบบและสร้างชิ้นส่วนชีวภาพ อุปกรณ์ หรือการออกแบบระบบชีวภาพ
ทางธรรมชาติ เช่น orthogonal bio-systems, regulatory circuits, minimal genome approaches และ protocells เป็นต้น - ชีววิทยาระบบเพื่อขยายความรู้เกี่ยวกับกระบวนการทางชีววิทยาและกลไกการควบคุมกระบวนการภายในและระหว่างเซลล์ รวมถึงการใช้เครื่องมือชีวสารสนเทศ
- วิศวกรรมเมแทบอลิซึมเพื่อการปรับแต่งสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่ใช้ในการผลิตและกระบวนการทางชีวภาพ
ให้มีประสิทธิภาพ - การพัฒนาเทคโนโลยีหรือการปรับปรุงเทคโนโลยีเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มจากชีวมวลที่ได้มาอย่างยั่งยืน
- วิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ (ร่วมกับเคมี) ในการเปลี่ยนโครงสร้างทางชีวภาพให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงในวิธีที่ยั่งยืน
- นวัตกรรมเพื่อสนับสนุนระบบอาหารที่ยั่งยืนและมีความยืดหยุ่น เน้นการลดหรือใช้ของเสียซ้ำ การเพิ่มประสิทธิภาพ และการปรับปรุงวงจรการผลิตที่สมบูรณ์
- การใช้เครื่องมือชีวสารสนเทศ สำหรับการระบุและการใช้วิถีเมแทบอลิซึม เช่น เส้นทางที่มีประโยชน์ต่อการผลิตทางชีวภาพและการปรับปรุงสายพันธุ์
อาจารย์และนักวิจัยที่ประสงค์นำส่งข้อเสนอโครงการ โปรดดำเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้
- โครงการวิจัยต้องเป็นความร่วมมือที่ประกอบด้วยนักวิจัยจากอย่างน้อย 2 สถาบัน โดยเป็นสถาบันที่สังกัด อยู่ในหน่วยงานวิจัยภาครัฐ สถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ หรือหน่วยงานวิจัยในภาคเอกชน และสถาบันแรกจะเป็นต้นสังกัดของหัวหน้าโครงการ
- ผู้สมัครจากประเทศไทย มีคุณสมบัติ ดังนี้
2.1 หัวหน้าโครงการต้องสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกหรือเทียบเท่า มีผลงานวิจัยคุณภาพสูง และทำงานในสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานภาครัฐในประเทศไทย นอกจากนี้ หัวหน้าโครงการและสมาชิกในทีมวิจัยทุกคนต้องไม่เคยมีประวัติการละเมิดจริยธรรมวิจัยใด ๆ
2.2 หัวหน้าโครงการต้องเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญ ซึ่งมีตำแหน่งในหน่วยงานวิจัยภาครัฐหรือสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ และมีประวัติผลงานวิจัยที่แสดงถึงความรู้และความสามารถที่ใช้ได้จริง
2.3 หัวหน้าโครงการ เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญที่สังกัดอยู่ในหน่วยงานวิจัยของภาครัฐ หรือสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ และมีประวัติผลงานวิจัย (Track Record) ที่แสดงความรู้ความสามารถเชิงประจักษ์ โดยหัวหน้าโครงการควรจะเป็นผู้ที่มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ในฐานะ Corresponding หรือ First Author และมีผลงานตีพิมพ์ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา หรือตามระยะเวลาที่ บพค. กำหนด
2.4 หากหัวหน้าโครงการเป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้องมีผลงานในวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล Scopus หรือ ISI และมีค่า Impact Factor สำหรับสาขามนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์จะต้องมีผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีการตรวจสอบต้นฉบับ (Peer Review) อย่างเข้มแข็ง
- จัดทำข้อเสนอโครงการตามแบบฟอร์มของ บพค. และหนังสือรับรอง (Letter of Support – LOS)
จากมหาวิทยาลัยที่ลงนามโดยผู้มีอำนาจลงนามของสถาบัน - ส่งข้อเสนอโครงการผ่านระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (NRIIS) และระบบบริหารงานวิจัยและนวัตกรรม (KIRIM) โดยมีเอกสารรูปแบบ PDF ที่ต้องแนบเข้าระบบ ประกอบด้วย แบบฟอร์มข้อเสนอโครงการตามรูปแบบ บพค.
ขอให้ดำเนินการตามขั้นตอนดังกล่าวให้แล้วเสร็จ ภายในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 เวลา 16:30 น. เพื่อ สวนพ. ดำเนินการตรวจสอบและรวบรวมเสนอผู้บริหารมหาวิทยาลัยรับรองการส่งข้อเสนอโครงการผ่านระบบ NRIIS ต่อไป และเนื่องจากมหาวิทยาลัยมีการประกาศ เรื่อง นโยบายจริยธรรมการวิจัย (Research Integrity) (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2567 ซึ่งมีผลบังคับใช้ วันที่ 8 สิงหาคม 2567 มหาวิทยาลัยจึงขอสงวนสิทธิ์รับรองการส่งข้อเสนอโครงการสำหรับหัวหน้าโครงการที่ผ่านการอบรมด้านจริยธรรมการวิจัยเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดและมีใบรับรองการผ่านการฝึกอบรมแล้วเท่านั้น
ไฟล์เอกสารที่เกี่ยวข้อง: https://kmutt.me/2025PMUBGermany-Thailand
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
คุณพนิดา สุวรรณนทีรักษ์
คุณมนัญชยา พิศพาร
อีเมล: researchfollowup@kmutt.ac.th
Line Official : https://lin.ee/HBsPEqH
ID:@researchkmutt
โทร. 02-470-9654